วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555


    งานที่ 6  11th assignment : Classification Writing





Relationship of Phylogeny to a "Natural" Classification
The network indicates the phylogeny (evolutionary history) of some terrestrial carnivorous mammals. The animals shown are part of a single evolutionary lineage that has been assigned thetaxon (plural, taxa) name Carnivora at the category rank of Order. Carnivora includes several familes, including Felidae, Canidae & Mustelidae, each of which contains several genera (sing., genus). Each of these names labels a particular branch in the evolutionary tree. This system is said to be hierarchal because each level of category names (species, genus, family, order, etc.) is contained within a more inclusive cateogry. The system is also said to be "natural" because the hierarchy of names indicates the degree of evolutionary relationship among organisms. For example, organisms placed in the same genus are more closely related than those in different genera in the same family, and organisms in the same family are more closely related than those in different orders.




งานที่ 5 10th assignment : Combining Sentence

Compound Sentence

1. Compound Sentence  แปลว่า  ประโยคความรวมหรืออเนกัตถประโยค หมายถึง  
ประโยคที่มีข้อความ  2  ข้อความมารวมกัน  พูดง่ายๆ คือ  ประโยคความเดียว ประโยคมารวมกันแล้วเชื่อมด้วย

co-ordinate conjunction (ตัวเชื่อมประสาน)  ได้แก่ and, or, but, so, still, yet, etc. และconjunctive adverb (คำวิเศษณ์เชื่อม)ได้แก่  however, meanwhile, therefore, otherwise, thus, etc.
               
 1.1 Compound Sentence (ประโยคความรวม หรืออเนกัตถประโยค) ที่เชื่อมด้วย  co-ordinate conjunction (ตัวเชื่อมประสาน)  ได้แก่  and, or, but, so, still, yet, etc.

ตัวอย่างเช่น

         Venerable Tawan  can  speak  English  and  he  can  speak  Loa.
             ท่านตะวันสามารถพูดภาษาอังกฤษและสามารถพูดภาษาลาวได้
            - Phramaha Charoen does not  study  Loa  yet  he  can  speak it.
              พระมหาเจริญไม่ได้ศึกษาภาษาลาวถึงกระนั้นเขาก็สามารถพูดภาษาลาวได้

1.2 Compound  Sentence (ประโยคความรวม หรืออเนกัตถประโยค)  ที่เชื่อมด้วย conjunctive adverb

(คำวิเศษณ์เชื่อม) ได้แก่  however, meanwhile, therefore, otherwise, thus, hence, nevertheless, etc.

ตัวอย่างเช่น
         - Venerable Prakorng  was  ill, thus  he  went  to  see  a  doctor  at  a  hospital.
            ท่านประคองป่วยดังนั้นเขาจึงไปหาหมอที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง 
         - Jess  comes  to  see  me at  a  temple, meanwhile  I  teach  her  Buddhism.
             เจสมาหาผมที่วัดระหว่างนั้นผมก็สอนพระพุทธศาสนาให้เธอด้วย

หมายเหตุ :  จากตัวอย่าง  จะเห็นได้ว่า Compound  Sentence  เกิดมาจาก  Simple  Sentence  2 ประโยคมารวมกัน  แล้วคั่นกลางประโยคทั้งสองด้วย  co-ordinate  conjunction (ตัวเชื่อมประสาน) และ conjunctive  adverb  (คำวิเศษณ์เชื่อม)

                                                                                                    credit


วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2555


งานที่ 4  

                                                           9th assignment : Sentence Writing


Sentence Pattern 1
1. He sleeps 
on(complement) the (modifier) bed in(complement) the (modifier) room.
2. Several 
young(modifier) men ran after(complement) her
3. My friend sit 
on (complement) the(modifire) chair in(complement) the(modifier)libraly at(complement) the(modifire) university.
Sentence Pattern 2
1. I drink orange juice 
on(complement) the(modifire) sofa in(complement)the(modifire) living room.
2. They hit a dog 
in(complement) the(modifire) park.
3. He reads a book
 under(complement) the(modifire) tree in(complement)the(modifire) garden at(complement) the(modifire) universsity.
Sentence Pattern 3
1. We find it difficult to(complement) understand English.

2. She becomes a doctor in(complement) the(modifire) hospital.

3. The manager and the owner 
at(complement) this(complement) restaurant are my friend.
Sentence Pattern 4
1. The girl was sick 
in(complement) last(modifire) night.
2. The traffic is terrible 
at(complement) 5 o'clock in(complement) this(modifier)morning. 
3. It becomes much 
more(modifier) expensive to(complement) travel abroad.
Sentence Pattern 5
1. My brother buy me 
some(modifier) cookie in(complement) this(modifier)morning.
2. I sent you 
those(modifier) book in(complement) last(modifier) friday.
3. My mother give me money 
in(complement) this(modifier) afternoon.

                                                                                                                Credit


                                    


งานที่ 3 

Outdoor Exercise
Mark /Mary lives in the city, but he/ she enjoys  being outdoors. When he/ she can, he /she spends his/her time outside.
He/she doesn’t /didn’t take a subway to work. He/sher ides  his bicycle. He /she doesn’t /didn’t eat lunch in a restaurant. He/shemakes his/her lunch himself /herself hand eats it in the park. Museums don’t/didn’t interest him/her and concerts bore him/she. He/she prefers/prefers to be outdoors and he /she chooses to entertain himself/herself.
Every morning he/she runs and plays tennis in the park and almost every weekend he/she goes hiking in the country. Bad weather doesn’t stop him/her. He/she even gets out in the rain.
Mark/Mary is a healthy person. His/her outdoor exercise makes him /her so.
                                                     credit

                      



วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2555

งานที่ 2

2nd: dictionary page

ประกอบ Dictionary page มีอยู่ 7 ส่วน ดังนี้


อธิบายจากภาพ


1.Headword คำหลักคำหัวบทแทรกหรือบางครั้งคำพูดติดปากคือคำที่อยู่ภายใต้ที่ตั้งของที่เกี่ยวข้อง


2.compound word คําประสมจะทำเมื่อทั้งสองคำจะเข้าร่วมในรูปแบบคำใหม่


3.world class เป็นการบ่งบอกถึงลักษณะ หน้าที่ ของคำศัพท์นั่นว่าเป็นอะไร เช่น noun , verb , adj.


4.example using หัวข้อบทเรียน : แนะนำตัวอย่าง (โดยใช้"ตัวอย่างเช่น"และวลีเช่น"ตัวอย่างเช่น") 


5.entry เป็นข้อมูล ขอบเขต ของความหมายของคำศัพท์นั้นๆ


6.phonetic type เกี่ยวกับเสียงพูด เกี่ยวกับการออกเสียง ซึ่งมีการออกเสียงตรงกัน


7.definition / meaning คำจำกัดความ คำนิยาม การกำหนด ความหมายมากกว่า 1 ความหมายก็ได้

                                                                                           Credit

            

วันอาทิตย์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2555

งานที่ 1 Root , Prefix , Suffix

                                   Root , Prefix , Suffix




Prefixes (อุปสรรค) คือ ส่วนของคำที่อยู่หน้าคำบ่งบอกความหมายของคำ
Suffixes (ปัจจัย) คือ ส่วนของคำที่อยู่ท้ายคำ บ่งบอกความหมายและหน้าที่ของคำ
Root (รากคำ) คือ ส่วนที่เป็นความหมายหลักของคำ อาจอยู่ที่ตำแหน่งใดของคำก็ได้


1. อุปสรรค (prefix)   คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของความหมายในภาษา  และ  ไม่สามารถอยู่ลำพังได้  เป็นส่วนที่เติมหน้ารากศัพท์ (root or stem) เพื่อเพิ่มหรือเปลี่ยนความหมายของรากศัพท์นั้น โดยจะไม่เปลี่ยนหน้าที่ของรากศัพท์  


อุปสรรคที่สำคัญมีดังนี้
1.   อุปสรรค  (Prefixes)  ที่มีความหมายในเชิงปฏิเสธ  "No" หรือ "Not" เช่น
อุปสรรค          ความหมาย                  ตัวอย่างคำ
un                    not                               unfair
in                     not                               inconvenient
im                    not                               impossible
2.   อุปสรรค  (Prefixes)  สถานที่   ตำแหน่ง  (Placement)  เช่น
อุปสรรค          ความหมาย                  ตัวอย่างคำ
inter                 among                         international
ex                     out                               exclude
sub                   under                          subtitle
3.    อุปสรรค  (Prefixes)  ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับเวลา  (Time)  เช่น
อุปสรรค          ความหมาย                  ตัวอย่างคำ
pre                   first                              pre-school
pro                   for,  before                  pro-America
post                 after                             post-graduate
4.     อุปสรรค  (Prefixes)  ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับจำนวนเลข  (Number)  เช่น
อุปสรรค          ความหมาย                  ตัวอย่างคำ
tri                     three                           tri angular
uni                   one                              unify\

Example

อุปสรรค(prefix)  +
รากศัพท์ (Root)
         =  คำใหม่(New word)
1. fore - (ก่อน)   +
  tell (บอก)
   =   foretell (ทำนาย)
2. miss - (ผิด)    +
  lead (นำ)
   =   mislead (นำไปในทางที่ผิด)
3. en (ทำให้)       +
  danger (อันตราย)
   =   endanger (ทำให้เป็นภัย)

2. Root or Stem รากศัพท์ (Root or Stem) เป็นส่วนที่แสดงถึงความหมายพื้นฐานหรือความหมายหลัก (Basic Meaning) ของคำ เมื่อเติม Prefix หรือ Suffix เข้าไปแล้วก็จะเป็นคำขึ้นมา โดยที่ความหมายของรากศัพท์ยังคงเดิมไม่เปลี่ยนความหมายไป  รากศัพท์  (roots)  เป็นส่วนที่เป็นฐานของคำและเป็นตัวหลักเพื่อสร้างคำอื่น ๆ  เพิ่มขึ้น  และรากศัพท์เป็นส่วนที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้อีก  
 
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับจำนวนเลข  (Numbers)  เช่น
รากศัพท์                      ความหมาย
semi                             one half
mono                           one
bi                                  two
cent                             hundred

 
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการวัด (Measurement)  เช่น
รากศัพท์                      ความหมาย
graph / graphy            a device to write or record       
meter                           a device to measure

 
รากศัพท์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Motion)  เช่น
รากศัพท์                      ความหมาย
vent                             to come


ตัวอย่างเช่น
1. contort   = con (ร่วมกัน, ด้วยกัน) เป็น prefix + tort (บิด) เป็นรากศัพท์
ดังนั้นความหมายของ contort   คือ ทำให้คด, งอ, บิด
2. torsion = tors (บิด) เป็นรากศัพท์ + ion (การ,ความ) เป็น suffix
ดังนั้นความหมายของ torsion จึงมีความหมายว่า "การบิด"

3. ปัจจัย (Suffix) 

    ปัจจัยคือส่วนที่เติมหลังรากศัพท์มักจะเปลี่ยนความหมายและหน้าที่ของคำด้วย  หรือเป็นส่วนหนึ่งของคำที่อยู่ข้างหลังคำหลัก (Base words)  หรือรากศัพท์  (Roots)  โดยทั่วไป  ปัจจัย  (Suffixes)  ช่วยชี้แนะชนิดของคำ  (Parts of speech)  เช่นการเติมปัจจัย  -er ,  -ist ,  -or  หลังคำหลัก และทำให้คำหลัก (Base words)  เปลี่ยนชนิดของคำเป็นคำนามประเภทของปัจจัย  (Suffixes)  สรุปได้ดังนี้


1.    ปัจจัยที่ทำให้กริยาเป็นคำนาม  คือ  ปัจจัยที่เติมหลังคำกริยา  แล้วเปลี่ยนคำหลักเป็นชนิดของคำนาม  เช่น
ปัจจัย               ตัวอย่างคำ                   ความหมาย                              
ation                combine                       combination
ment                payment                       payment
er                     paint                            painter
al                     propose                       proposal

2.    ปัจจัยที่ทำให้คุณศัพท์เป็นคำนาม  คือ  ปัจจัยที่เติมหลังคำคุณศัพท์  แล้วเปลี่ยนเป็น
ชนิดของคำนาม  เช่น 
ปัจจัย               ตัวอย่างคำ                   ความหมาย      
ness                 kind                             kindness
ce                     absent                         absence
ism                   human                         humanism

ตัวอย่างเช่น



คำ(Word ) +ปัจจัย (Suffix)คำใหม่(New word)
1.kind (adj +

2. assist (verb) +

3.danger (noun) +
ness
 
ant

ous
=  kindness (noun)
  
=  assistant (noun)

=  dangerous (adjective)


Credit
การใช้ Prefix

Prefix แบ่งเป็น3 ชนิด ตามลักษณะของคำที่ใช้นำหน้าคือ ;
1. ชนิดที่เติมข้างหน้าแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้ามได้แก่ un- , dis-, in-, im-, non-, etc. เป็นต้น
2. ชนิดที่เติ่มข้างหน้าแล้ว ทำให้คำนั้นเป็นกริยาขึ้นทาได้แก่ en-, em-
3. ชนิดที่เตมลงไปข้างหน้าแล้ว มีความหมายแตกต่างกัน ซึ่งผู้ศึกษาต้องจดจำเป็นตัวๆไป ได้แก่ co-, re-,supper-,etc. เป็นต้น
เช่น 3 ตัวนี้

Dis- (ไม่) ใช้เติมข้างหน้ากริยา (Verb) บ้าง , หน้าคำนาม (none) บ้าง, หน้าคุณศัพท์ (adjective) บ้าง เช่น;


Non- (ไม่) อุปสรรคคำนี้มักจะใช้เป็นคำศัพท์ทางวิชาการ ( technical Word) เสียมากกว่า ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เช่น ;-

Un- (ไม่) โดยปกติใช้เติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) เช่น ;,




                                                    Credit